สรุปและอภิปรายผล (Conclusion and Discussion)  สรุปในภาพรวมการจัดการของ การแปล - สรุปและอภิปรายผล (Conclusion and Discussion)  สรุปในภาพรวมการจัดการของ อังกฤษ วิธีการพูด

สรุปและอภิปรายผล (Conclusion and Di

สรุปและอภิปรายผล (Conclusion and Discussion) สรุปในภาพรวมการจัดการของวิสาหกิจชุมชน ท่าสะอ้านไฮโดรโปนิกส์ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีการดำเนินงานครบ ทุกมิติ เริ่มต้นจากการผลิต ไปจนสิ้นสุดถึงการจัดจำหน่าย สำหรับผลการประกอบการ มีกำไรปกติ (Normal Profit) เป็นวิสาหกิจชุมชนที่มีความเข้มแข็ง และยั่งยืนในการจัดการ
สำหรับการอภิปรายผลในภาพรวม การจัดการวิสาหกิจชุมชน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มเกษตรกรสามารถดำเนินการผลิต เป็นอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้อย่างต่อเนื่อง (ศศิเพ็ญพวงสายใจ และคณะ, 2554) สำหรับวิสาหกิจชุมชน ท่าสะอ้านไฮโดรโปนิกส์ มีผลิตภัณฑ์ที่มีความสอดคล้องกับยุคที่มีความตระหนักด้านสุขภาพ และความต้องการ (Demand) ของผู้บริโภคที่มีกำลังซื้อสูง โดยที่มีความจำเป็นในการเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ อาจต้องมีมากขึ้น และมีความหลากหลายของช่องทางการจัดจำหน่ายมากขึ้นเช่นกัน เพื่อการเข้าถึงผู้บริโภคให้มีระยะเวลาสั้นที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยและหลักการของส่วนผสมทางการตลาด (Marketing Mix: 4P’s)

ข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้
(1) การจัดการ การผลิต และการตลาด พบปัญหาเกี่ยวกับปริมาณเงินทุนหมุนเวียน เนื่องจากรายได้(Revenue) มีลักษณะที่ไม่สม่ำเสมอ และมีจำกัด (ในกรณีที่ขายผลิตภัณฑ์ได้ไม่หมด) แต่รายจ่าย (ต้นทุนผันแปร) มีตลอดและต่อเนื่อง โดยพบปัญหาหลักคือ มีข้อจำกัดในการจัดจำหน่าย ดังนั้นการสนับสนุนจากภาครัฐ เพื่อให้สามารถกระจายสินค้าได้มากขึ้นและรวดเร็วยิ่งขึ้น รัฐควรให้การช่วยเหลืออย่างเป็นรูปธรรม และมีความต่อเนื่อง
(2) การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค กล่าวเฉพาะประเด็นที่ควรพัฒนา แบ่ง เป็น 4 หัวข้อใหญ่ ๆ คือ การจัดการ การผลิต การจัดจำหน่าย และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชน ดังนี้ I) การจัดการ สมาชิกของวิสาหกิจฯ จะต้องมีส่วนร่วม และจัดระบบในการจัดการให้มีความชัดเจนเพิ่มยิ่งขึ้น II) การผลิต ต้องเน้นการผลิตที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค และรวดเร็วตรงเวลามากที่สุด III) การตลาด อาจมีการสำรวจตลาดอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม และมีการสร้างเครือข่ายให้ครบวงจร เช่น การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย เป็นต้น และ IV) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชน ให้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจ เพื่อนำไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน มีความจำเป็นต้องมีภาครัฐเข้ามาสนับสนุนอย่างเป็นรูปธรรมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืนของชุมชน
โดยสรุปการสนับสนุนจากภาครัฐ ยังมีความจำเป็นในขณะนี้ เพื่อให้วิสาหกิจชุมชน ท่าสะอ้าน ไฮโดรโปนิกส์ เกิดความเข้มแข็ง โดยเฉพาะในด้านการส่งเสริมการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ควรมีความหลายหลาก และเพิ่มมากยิ่งขึ้น
กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgments)
ขอขอบพระคุณ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ที่สนับสนุนงบประมาณการวิจัย คณาจารย์โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ที่ให้โอกาสในการทำวิจัย นายกรวิชญ์ มาระเสนา ประธานกลุ่มวิสาหกิจ ท่าสะอ้านไฮโดรโปนิกส์ และนางสาวรสมา สาและ ผู้ช่วยนักวิจัย ที่อนุเคราะห์ให้ข้อมูล และช่วยเหลือตลอดระยะเวลาของการวิจัย


เอกสารอ้างอิง (Bibliography)
ธนาชัย สุขวณิช. (2555). การบริหารจัดการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชน
ในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย. วารสารวิชาการคณะบริหารธุรกิจ ปีที่ 7 เล่มที่ 1 มิถุนายน 2555, 25-37.
ประภาพร ยางประยงค์. (2556). การจัดการวิสาหกิจชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง:
กรณีศึกษา หมู่ที่ 8 ท่าสะอ้าน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. รายงานการประชุมทางวิชาการ
ระดับชาติ ด้านการบริหารจัดการ ครั้งที่ 5. คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 19.
ศศิเพ็ญ พวงสายใจ, วัชรี พฤกษิกานนท์, พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์, สุขุม พันธ์ณรงค์, และพิมลพันธ์ บุญยะเสนา. (2554).
การประเมินผลเปรียบเทียบในมิติต่าง ๆ ของประชาชน ในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้.
วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม- มิถุนายน 2554, 14-40.
สุภางค์ จันทวานิช. (2554). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 19. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2551). เศรษฐกิจพอเพียง. [ออนไลน์].
แหล่งที่มา http://www.nesdb.go.th.
เสรี พงษ์พิศ. (2550). เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์.
อรุณ หนูผุด. (2555). รายงานข้อมูลวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสงขลา. สำนักงานเกษตรสงขลา: กรมส่งเสริมการเกษตร.
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Summarize and discuss the outcome (Conclusion and Discussion) a summary overview of the management of enterprises in the community. At saan hydroponics On the basis of the sufficiency economy philosophy With end-to-end operation. In every dimension. Starting from production through to distribution for profit enterprises normally (Normal Profit) is a community-based enterprises that have strengthened and sustainable management. For a discussion on overall management of enterprises in the community according to the principle of sufficiency economy philosophy. Farmers can continue to produce a supplementary occupation to increase ongoing earnings (sasi and wire Steering Board of the full moon, 2554 (2011)) for port community enterprises saan hydroponics. There is a product that is consistent with the realities that have a health awareness and demand (Demand) of consumers with high purchasing power, which is necessary in order to increase product distribution channels may need to be increased, and there are a variety of distribution channels and more as well. To reach consumers with the shortest duration which corresponds to the research and principles of marketing mix. (Marketing Mix: 4P's)Suggestion Results of the research there is a suggestion as follows: (1) the management, production and marketing. I found the problem about the quantity of cash flows due to income (Revenue) Have a look and have a limit (in cases where the product is sold not out) but the expenditure (variable costs) and is continuous throughout the? The main problem is that there are restrictions on the distribution, so support from the public sector to be able to distribute more and faster. The State should provide assistance for reforms and continuity (2) an analysis of strengths, weaknesses, opportunities, and obstacles. It only issues that should be developed is divided into 4 major topics: management, production, distribution and the learning activities in the community. The following I) management. Members of wisahakit will have to participate and organize to manage to have more added clarity II) productions. To highlight that is consistent with the needs of consumers and quickly the most punctual III) marketing is subject to ongoing market survey is a concrete and comprehensive networking such as product distribution, a diverse and IV) learning activities in the community, to the students. Students and the general public who are interested to observe reality in everyday life. There is a need for Government to support continued reforms, a more precise. To achieve sustainable growth and strength of the community. Summary of Government support are also needed now to provide community-based enterprises at saan. Hydroponics B. strength, especially in the field of promotion of distribution of the product should be many and much much more. Michael medicine announcement (Acknowledgments) Thank you Songkhla rajabhat University, Faculty of Management Sciences that support the research budgets at the Economics Faculty, programs, the opportunity to do research. Prime rawit forth Sena The President enterprises group, THA saan hydroponics and Ms. flavor comes to the researchers and to help provide you with information and assistance throughout the duration of the research. References (Bibliography) Thana Chai sook wanit. (2555 (2012)). Savings group management to manufacturing to strengthen community-based economic. In the central area of the Thai nation. Faculty of business administration academic years 7 volume June 1, 2012, 25-37.Aglaia odorata. rubber porn Prapa (2556 (2013)). Managing community enterprises, according to the philosophy of sufficiency economy: A case study of Mu at 8 Pier saan Tambon Muang Songkhla province, his elephant. Report of the technical meeting. National level management time 5. Faculty of Management Sciences, Prince of songkla University, 19.Sasi's wire ring pen, sumran vimudtikosol phriksi check box, a small earthen cistern, Janel thinwit thian, mellow and juicy House, apartment house phimon ya Sena: (2554 (2011)). Comparative evaluation on the different dimensions of the people. In the philosophy of sufficiency economy applied. Chiang Mai University economics magazine, vol. 15 issue January 1-June 14, 2554 (2011)-40.U.s phang Chan Chor-thongsang (2554 (2011)). Qualitative research methods. Edition 19. Bangkok: Chulalongkorn University.Office of the Director of the national economic and social development. (2551 (2008)). Sufficiency economy. [Online]. Source http://www.nesdb.go.th.Crazy Pong free. (2550 (2007)). Sufficiency economy. Bangkok: j-yawit printing.Arun rat POPs: (2555 (2012)). Community-based enterprises information report, Songkhla. Office of agriculture agricultural promotion Department: Songkhla.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
สรุปและอภิปรายผล (Conclusion and Discussion) สรุปในภาพรวมการจัดการของวิสาหกิจชุมชน ท่าสะอ้านไฮโดรโปนิกส์ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีการดำเนินงานครบ ทุกมิติ เริ่มต้นจากการผลิต ไปจนสิ้นสุดถึงการจัดจำหน่าย สำหรับผลการประกอบการ มีกำไรปกติ (Normal Profit) เป็นวิสาหกิจชุมชนที่มีความเข้มแข็ง และยั่งยืนในการจัดการ
สำหรับการอภิปรายผลในภาพรวม การจัดการวิสาหกิจชุมชน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มเกษตรกรสามารถดำเนินการผลิต เป็นอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้อย่างต่อเนื่อง (ศศิเพ็ญพวงสายใจ และคณะ, 2554) สำหรับวิสาหกิจชุมชน ท่าสะอ้านไฮโดรโปนิกส์ มีผลิตภัณฑ์ที่มีความสอดคล้องกับยุคที่มีความตระหนักด้านสุขภาพ และความต้องการ (Demand) ของผู้บริโภคที่มีกำลังซื้อสูง โดยที่มีความจำเป็นในการเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ อาจต้องมีมากขึ้น และมีความหลากหลายของช่องทางการจัดจำหน่ายมากขึ้นเช่นกัน เพื่อการเข้าถึงผู้บริโภคให้มีระยะเวลาสั้นที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยและหลักการของส่วนผสมทางการตลาด (Marketing Mix: 4P’s)

ข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้
(1) การจัดการ การผลิต และการตลาด พบปัญหาเกี่ยวกับปริมาณเงินทุนหมุนเวียน เนื่องจากรายได้(Revenue) มีลักษณะที่ไม่สม่ำเสมอ และมีจำกัด (ในกรณีที่ขายผลิตภัณฑ์ได้ไม่หมด) แต่รายจ่าย (ต้นทุนผันแปร) มีตลอดและต่อเนื่อง โดยพบปัญหาหลักคือ มีข้อจำกัดในการจัดจำหน่าย ดังนั้นการสนับสนุนจากภาครัฐ เพื่อให้สามารถกระจายสินค้าได้มากขึ้นและรวดเร็วยิ่งขึ้น รัฐควรให้การช่วยเหลืออย่างเป็นรูปธรรม และมีความต่อเนื่อง
(2) การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค กล่าวเฉพาะประเด็นที่ควรพัฒนา แบ่ง เป็น 4 หัวข้อใหญ่ ๆ คือ การจัดการ การผลิต การจัดจำหน่าย และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชน ดังนี้ I) การจัดการ สมาชิกของวิสาหกิจฯ จะต้องมีส่วนร่วม และจัดระบบในการจัดการให้มีความชัดเจนเพิ่มยิ่งขึ้น II) การผลิต ต้องเน้นการผลิตที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค และรวดเร็วตรงเวลามากที่สุด III) การตลาด อาจมีการสำรวจตลาดอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม และมีการสร้างเครือข่ายให้ครบวงจร เช่น การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย เป็นต้น และ IV) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชน ให้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจ เพื่อนำไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน มีความจำเป็นต้องมีภาครัฐเข้ามาสนับสนุนอย่างเป็นรูปธรรมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดความเข้มแข็ง และยั่งยืนของชุมชน
โดยสรุปการสนับสนุนจากภาครัฐ ยังมีความจำเป็นในขณะนี้ เพื่อให้วิสาหกิจชุมชน ท่าสะอ้าน ไฮโดรโปนิกส์ เกิดความเข้มแข็ง โดยเฉพาะในด้านการส่งเสริมการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ควรมีความหลายหลาก และเพิ่มมากยิ่งขึ้น
กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgments)
ขอขอบพระคุณ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ที่สนับสนุนงบประมาณการวิจัย คณาจารย์โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ที่ให้โอกาสในการทำวิจัย นายกรวิชญ์ มาระเสนา ประธานกลุ่มวิสาหกิจ ท่าสะอ้านไฮโดรโปนิกส์ และนางสาวรสมา สาและ ผู้ช่วยนักวิจัย ที่อนุเคราะห์ให้ข้อมูล และช่วยเหลือตลอดระยะเวลาของการวิจัย


เอกสารอ้างอิง (Bibliography)
ธนาชัย สุขวณิช. (2555). การบริหารจัดการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชน
ในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย. วารสารวิชาการคณะบริหารธุรกิจ ปีที่ 7 เล่มที่ 1 มิถุนายน 2555, 25-37.
ประภาพร ยางประยงค์. (2556). การจัดการวิสาหกิจชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง:
กรณีศึกษา หมู่ที่ 8 ท่าสะอ้าน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. รายงานการประชุมทางวิชาการ
ระดับชาติ ด้านการบริหารจัดการ ครั้งที่ 5. คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 19.
ศศิเพ็ญ พวงสายใจ, วัชรี พฤกษิกานนท์, พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์, สุขุม พันธ์ณรงค์, และพิมลพันธ์ บุญยะเสนา. (2554).
การประเมินผลเปรียบเทียบในมิติต่าง ๆ ของประชาชน ในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้.
วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม- มิถุนายน 2554, 14-40.
สุภางค์ จันทวานิช. (2554). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 19. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2551). เศรษฐกิจพอเพียง. [ออนไลน์].
แหล่งที่มา http://www.nesdb.go.th.
เสรี พงษ์พิศ. (2550). เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์.
อรุณ หนูผุด. (2555). รายงานข้อมูลวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสงขลา. สำนักงานเกษตรสงขลา: กรมส่งเสริมการเกษตร.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: