ทำไมต้องเรียนภาษาศาสตร์                การศึกษาภาษาของนักภาษาศาสตร์ มี การแปล - ทำไมต้องเรียนภาษาศาสตร์                การศึกษาภาษาของนักภาษาศาสตร์ มี ไทย วิธีการพูด

ทำไมต้องเรียนภาษาศาสตร์            

ทำไมต้องเรียนภาษาศาสตร์
                การศึกษาภาษาของนักภาษาศาสตร์ มีลักษณะสำคัญอยู่ ๒ ประการ
              ๑. ศึกษาภาษาด้วยวิธีวิทยาศาสตร์
                วิธีศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ มีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ในการทดลอง ตลอดจนผลการศึกษาทดลองนั้นจะต้องพิสูจน์ได้ การศึกษาจึงเน้นการปฏิบัติทดลองจริง (Empirical) ความเที่ยงแท้แน่นอน (Exact) และความเป็นวัตถุวิสัย (Objective) นักภาษาศาสตร์นั้นเมื่อสนใจภาษาใดจะใช้ความพยายามแยกแยะภาษานั้นออกมาเพื่อดูว่าภาษานั้นมีองค์ประกอบอย่างไร เหมือนช่างเครื่องยนต์ที่รื้อส่วนประกอบของเครื่องยนต์ออกมาดูไม่ได้หมายความว่า การศึกษาแบบเดิมนั้นจะขาดความเที่ยงตรงเสมอไป เพราะข้อมูลจากการศึกษาโดยวิธีอื่น ๆ ที่ไม่ใช่วิธีวิทยาศาสตร์ก็มีความเที่ยงตรงได้เพื่อความเข้าใจเราอาจเปรียบเทียบการศึกษาภาษา ๒ วิธี คือ วิธีวิทยาศาสตร์ กับวิธีมนุษยศาสตร์ ซึ่ง ๒ วิธีนี้มีความแตกต่างกันมาก การศึกษาภาษาส่วนใหญ่ที่ทำกันมานั้น เป็นการศึกษาทางมนุษยศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายจะสร้างคุณค่าทางมนุษยศาสตร์ เป็นวิธีอัตวิสัยต้องใช้ความคิด ความรู้สึกในการรับระบบคุณค่า ซึ่งเป็นบรรทัดฐาน ดังตัวอย่างคำจำกัดความของคำนามที่ว่า “คำนามคือคำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ” การเข้าใจเรื่องคำนาม โดยคำจำกัดความนี้ต้องอาศัยความเข้าใจแบบอัตวิสัยที่ตรงกัน นักภาษาศาสตร์ไม่ได้ตำหนิการศึกษาภาษาแบบเดิมตรงวิธีการที่เป็นวิธีการทางมนุษยศาสตร์ แต่เป็นเพราะการศึกษาแบบเดิมนั้นมีข้อบกพร่องในวิธีการ จึงทำให้ขาดความเที่ยงตรงไป
 ๒. การศึกษาภาษาศาสตร์เป็นการบรรยายภาษา
   ข้อแตกต่างอีกอย่างหนึ่งของการศึกษาภาษาเชิงภาษาศาสตร์กับการศึกษาแบบเดิม นอกจากวิธีการแล้ว ก็คือลักษณะของผลที่ได้จากการศึกษา กล่าวคือ นักภาษาศาสตร์จะบรรยายภาษาตามผลการศึกษาทดลอง หรือจากการสำรวจ ตรวจสอบภาษา ส่วนนักภาษาแบบเดิมจะกำหนดหรือสั่งภาษา โดยถือเป็นหน้าที่ของนักไวยากรณ์ภาษาและครูสอนหลักภาษาในโรงเรียนทั่ว ๆ ไปที่จะต้องให้กฎเกณฑ์ว่าควรพูดอย่างไรจึงจะถูก เพราะสังคมผู้ใช้ภาษานั้น ๆ สื่อสารกันจะเป็นผู้พิจารณาตัดสินผลของการใช้ภาษาสื่อสารเอง ความต่างกันของนักภาษาศาสตร์กับนักไวยากรณ์ภาษาก็คือ ความแตกต่างของเป้าหมายการศึกษาว่า มุ่งความเป็นวิทยาศาสตร์หรือมุ่งทางมนุษยศาสตร์ทั้ง ๒ เป้าหมายล้วนมีความสำคัญในแง่มุมของตนทั้งนั้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ทำไมต้องเรียนภาษาศาสตร์ การศึกษาภาษาของนักภาษาศาสตร์ มีลักษณะสำคัญอยู่ ๒ ประการ ๑. ศึกษาภาษาด้วยวิธีวิทยาศาสตร์ วิธีศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ มีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ในการทดลอง ตลอดจนผลการศึกษาทดลองนั้นจะต้องพิสูจน์ได้ การศึกษาจึงเน้นการปฏิบัติทดลองจริง (Empirical) ความเที่ยงแท้แน่นอน (Exact) และความเป็นวัตถุวิสัย (Objective) นักภาษาศาสตร์นั้นเมื่อสนใจภาษาใดจะใช้ความพยายามแยกแยะภาษานั้นออกมาเพื่อดูว่าภาษานั้นมีองค์ประกอบอย่างไร เหมือนช่างเครื่องยนต์ที่รื้อส่วนประกอบของเครื่องยนต์ออกมาดูไม่ได้หมายความว่า การศึกษาแบบเดิมนั้นจะขาดความเที่ยงตรงเสมอไป เพราะข้อมูลจากการศึกษาโดยวิธีอื่น ๆ ที่ไม่ใช่วิธีวิทยาศาสตร์ก็มีความเที่ยงตรงได้เพื่อความเข้าใจเราอาจเปรียบเทียบการศึกษาภาษา ๒ วิธี คือ วิธีวิทยาศาสตร์ กับวิธีมนุษยศาสตร์ ซึ่ง ๒ วิธีนี้มีความแตกต่างกันมาก การศึกษาภาษาส่วนใหญ่ที่ทำกันมานั้น เป็นการศึกษาทางมนุษยศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายจะสร้างคุณค่าทางมนุษยศาสตร์ เป็นวิธีอัตวิสัยต้องใช้ความคิด ความรู้สึกในการรับระบบคุณค่า ซึ่งเป็นบรรทัดฐาน ดังตัวอย่างคำจำกัดความของคำนามที่ว่า “คำนามคือคำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ” การเข้าใจเรื่องคำนาม โดยคำจำกัดความนี้ต้องอาศัยความเข้าใจแบบอัตวิสัยที่ตรงกัน นักภาษาศาสตร์ไม่ได้ตำหนิการศึกษาภาษาแบบเดิมตรงวิธีการที่เป็นวิธีการทางมนุษยศาสตร์ แต่เป็นเพราะการศึกษาแบบเดิมนั้นมีข้อบกพร่องในวิธีการ จึงทำให้ขาดความเที่ยงตรงไป ๒. การศึกษาภาษาศาสตร์เป็นการบรรยายภาษา ข้อแตกต่างอีกอย่างหนึ่งของการศึกษาภาษาเชิงภาษาศาสตร์กับการศึกษาแบบเดิม นอกจากวิธีการแล้ว ก็คือลักษณะของผลที่ได้จากการศึกษา กล่าวคือ นักภาษาศาสตร์จะบรรยายภาษาตามผลการศึกษาทดลอง หรือจากการสำรวจ ตรวจสอบภาษา ส่วนนักภาษาแบบเดิมจะกำหนดหรือสั่งภาษา โดยถือเป็นหน้าที่ของนักไวยากรณ์ภาษาและครูสอนหลักภาษาในโรงเรียนทั่ว ๆ ไปที่จะต้องให้กฎเกณฑ์ว่าควรพูดอย่างไรจึงจะถูก เพราะสังคมผู้ใช้ภาษานั้น ๆ สื่อสารกันจะเป็นผู้พิจารณาตัดสินผลของการใช้ภาษาสื่อสารเอง ความต่างกันของนักภาษาศาสตร์กับนักไวยากรณ์ภาษาก็คือ ความแตกต่างของเป้าหมายการศึกษาว่า มุ่งความเป็นวิทยาศาสตร์หรือมุ่งทางมนุษยศาสตร์ทั้ง ๒ เป้าหมายล้วนมีความสำคัญในแง่มุมของตนทั้งนั้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
为什么要学习语言学 
              语言学家研究的重要方面,具有两 
           1。研究语言的科学方法。
               科学方法教育中各种变量的控制实验以及实验研究结果都证明真正的实验室研究经验(重点)(绝对)和精度(精确Objective)客观化像汽车机械拆除了并不意味着发动机的部件。传统的研究缺乏。因为通过其他途径研究第二种方法是人文科学的方法,这种方法有很大的不同:主要研究了。人文研究目的建立人文价值。意识到这一价值体系规范名词的定义,例如“名字是名词术语理解任何动物的名词。传统语言学家没有直接指责教育人文方法但由于传统研究方法的缺陷因此,缺乏诚实去
第 描述性语言学研究语言
研究的另一个区别   传统语言学研究方法的特点在于,除了研究结果简介即语言学家或语言调查,实验研究传统的部分定义语言或命令语言语法是语言的功能和语言教师在学校周围的主要规则,应该要怎么说,因为语言使用者的社会。不同的语言是语言学家和语法学家目标的差异研究针对人文科学化两种,或针对其目标方面是非常重要的。
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: