ปรัชญาการเมืองของกรีกปรัชญาการเมือง คือ การศึกษา หรือความรู้เกี่ยวกับก การแปล - ปรัชญาการเมืองของกรีกปรัชญาการเมือง คือ การศึกษา หรือความรู้เกี่ยวกับก ไทย วิธีการพูด

ปรัชญาการเมืองของกรีกปรัชญาการเมือง

ปรัชญาการเมืองของกรีก
ปรัชญาการเมือง คือ การศึกษา หรือความรู้เกี่ยวกับการเมืองการปกครอง เพื่อนำไปสู่รูปแบบการเมืองการปกครองที่ดีที่สุด และนำไปสู่ความสุขของประชาชน โดยส่วนมากจะเน้นพวกตะวันตกมากกว่า ในที่นี้จะขอกล่าวถึง นักปราชญ์กรีกทั้ง 3 คือ Socrates, Plato, Aristotle ผู้ซึ่งวางรากฐานปรัชญาการเมืองไว้

Socrates (469 – 399 B.C) เป็นชาวนครรัฐเอเธนส์ (Athens)

- แสวงหาความรู้ที่ถูกต้องที่เป็นความรู้สากล
- ใช้วิธี Dialectic ตั้งคำถามให้ผู้อื่นตอบ เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งตอบ ก็ตั้งคำถามโต้แย้ง จนอีกฝ่ายหนึ่งจนแต้ม โดยจะต้องใช้เหตุผล และหลักทางตรรกวิทยา
- แสวงหาความจริง ความรู้ ความยุติธรรม
- ไม่เชื่อในความเท่าเทียมกันของคน
- ผู้ปกครองที่ดีควรต้องมีความรู้ และสติปัญญา
- ไม่เห็นด้วยกับการปกครองแบบประชาธิปไตยของกรีก เนื่องจาก
1. การใช้เสียงข้างมากเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เพราะคนส่วนใหญ่ไม่มีเวลา และไม่มีความฉลาด
2. ผู้นำทางการเมืองจะมาจากการเลือกตั้ง สนับสนุนของคนส่วนใหญ่ ทำให้ได้ผู้ปกครองที่ไม่มีความรู้ แต่เป็นผู้ปกครองที่ได้รับความนิยม
- การยึคปรัชญาที่อาศัย “คุณธรรม คือ ความรู้” (Virtue is Knowledge) เป็นฐานกัดกร่อนข้ออ้างของระบอบประชาธิปไตยในเรื่องการมีวิธีการปกครองที่มีประสิทธิภาพ และความยุติธรรม ทำให้เสรีภาพในการอภิปรายหมดคุณค่า

- วิจารณ์เสรีภาพของชาวเอเธนส์ด้วยความขมขื่น
- สิ่งที่นักการเมืองผลิต คือ ขยะ
- วิธี Dialectic ทำให้คนส่วนหนึ่งเกิดความรำคาญ เพราะ Socrates โต้แย้งและสอนให้คนสงสัยในทุกสิ่ง

- การสอนไม่ให้เชื่อ ไม่ยอมรับเทพเจ้าที่คนในนครรัฐเชื่อถือกัน
• ข้อกล่าวหาว่า Socrates สร้างเทพเจ้าองค์ใหม่
• ข้อหาบ่อนทำลายและมอมเมาเยาวชน ถูกคณะลูกขุนตัดสินให้ดื่มยาพิษ Hemlock สิ้นชีวิต
- ไม่มีใครรู้เกี่ยวกับชีวิตส่วนตัวของ Socrates ส่วนมากจะรู้มาจากคำบอกเล่าของ Plato และการตีความของนักคิดในยุคต่อๆ มา
- ถึงแม้ว่า Socrates จะไม่เห็นด้วยกับระบอบประชาธิปไตยแบบกรีก แต่เขาก็เคารพในกฎหมายของรัฐ

Plato (427 – 347 B.C) เป็นลูกศิษย์ของ Socrates

- ความรู้ที่แท้จริง คือ คุณธรรมและเหตุผล
- ไม่เชื่อในเรื่องของความเท่าเทียมกัน เพราะคนเรามีความสามารถและความถนัดแตกต่างกัน
- เขียนหนังสือเล่มหนึ่ง ชื่อ The Republic (อุตมรัฐ) เสนอรูปแบบการปกครองของรัฐที่ดีเลิศในอุดมคติ แบ่งคนออกเป็น 3 ชนชั้น ตามความสามารถ โดยใช้การศึกษาเป็นตัวจำแนก ได้แก่
1. ชนชั้นต่ำ – ชาวนา ช่าง พ่อค้า
2. ชนชั้นกลาง – นักรบ ทหาร ป้องกันนครรัฐจากศัตรู
3. ชนชั้นสูง – เป็นผู้ปกครอง มีเหตุผลและสติปัญญาสูงสุด
ผู้ปกครอง ก็คือ ราชาปราชญ์ (Philosopher King) ฉลาดเลิศล้ำโดยกำเนิด ได้รับการฝึกอบรมให้เป็นผู้ปกครอง
- ความยุติธรรมเป็นคุณธรรมสูงสุด รัฐที่ดีที่สุด คือ รัฐที่ให้ความยุติธรรมแก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน
- เขียนหนังสือการเมืองอีกหลายเล่ม ในรูปแบบการสนทนาตอบโต้
- เป็นบิดาวิชาปรัชญาทางการเมือง
- ไม่เห็นด้วยกับประชาธิปไตยแบบกรีก โดยเฉพาะประชาธิปไตยแบบเสียงข้างมากที่ได้ตัดสินประหารชีวิต Socrates

Aristotle (384 – 322 B.C) เป็นลูกศิษย์ของ Plato

- เรียนที่ Academy 19 ปี กับ Plato
- เป็นอาจารย์ผู้สอนที่ Academy
- ไปสอนหนังสือ Alexander the Great แห่ง Mecedonia ได้เอารัฐธรรมนูญกว่า 158 ฉบับจากเมืองที่ตีได้ให้ Aristotle ศึกษา
- ต่อมาได้กลับมายังกรุงเอเธนส์ได้ตั้งโรงเรียน Lyceum ขึ้นใกล้กรุงเอเธนส์
- การศึกษาเปรียบเทียบของ Aristotle ได้จำแนกรูปแบบการปกครอง ออกเป็น 6 รูปแบบ โดยใช้เกณฑ์ จำนวนผู้ปกครอง กับ ความมีจริยธรรมของผู้ปกครอง

1. ราชาธิปไตย (Monarchy)
โดย กษัตริย์ (king/monarch) มีลักษณะสำคัญ คือ เป็นระบอบการปกครองที่มีการสืบสายโลหิต สืบสันตติวงศ์ โดยผู้ปกครองตระกูลหนึ่ง ซึ่งอาจเป็นการนับสายโลหิตทางพ่อ หรือทางแม่ก็ได้ แล้วแต่ประเพณีระบอบการเมืองนั้นๆ การสืบสายโลหิตที่ว่านี้ จะมีการจัดตามลำดับของเจ้านายในวงศ์ตระกูลนั้น

Plato และ Aristotle ต่างมองว่าราชาธิปไตยในที่นี้ควรจะปกครองโดยราชาปราชญ์ (Philosopher King) ซึ่งเป็นการปกครองที่ดีในอุดมคติ คุณธรรมของผู้ปกครองนี้จะทำให้เป็นการปกครองที่ดีไม่คำนึงถึงประโยชน์เฉพาะของผู้ปกครองเองเป็นที่ตั้ง แต่จะคำนึงถึงประโยชน์ของนครรัฐและคนทุกกลุ่มเป็นที่ตั้ง

ระบอบนี้มีความอุดมคติสูง และเป็นไปได้ยาก เพราะ

1) จะหาคนที่ดีเลิศทั้งความรู้ และคุณธรรมได้จากไหน
2) ถ้ามีคนผู้นี้อยู่จริงก็คงไม่ยอมลดตัวมาเป็นผู้ปกครอง เพราะเต็มไปด้วยภาระและปัญหา

ในความเป็นจริงมีแนวโน้มว่าจะได้ผู้นำที่ด้อยความสามารถ และอาจกลายเป็นทรราช

2. ทรราชย์ (Tyranny)
คือ การปกครองโดยคนคนเดียวที่มีอำนาจ ไม่มีการสืบสายโลหิต ใช้อำนาจเป็นไปตามอำเภอใจ (Arbitrary) ไม่มีกฎเกณฑ์ ไม่มีความแน่นอน สั่งการแต่ผู้เดียว มักเป็นการปกครองโดยใช้กำลังบังคับ

3. อภิชนาธิปไตย (Aristocracy)
คำว่า Aristocracy มาจากคำว่า aristoi เป็นภาษากรีก แปลว่า ความฉลาด ความสามารถพิเศษ + kratos แปลว่า การปกครอง รวมกันคือ การปกครองโดยคณะ / กลุ่มคนส่วนน้อยที่มีความสามารถ มีความรู้ มีการศึกษา และเป็นชนชั้นสูง ที่มุ่งประโยชน์ส่วนรวม จุดอ่อนก็คือ มีแนวโน้มที่จะกลายเป็น คณาธิปไตย

4. คณาธิปไตย (Oligarchy)
เป็นการปกครองโดยกลุ่มบุคคล แต่เป็นกลุ่มซึ่งรวมตัวกันเพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมืองโดยเฉพาะ อาจจะมาจากหลายชนชั้น หรือมีการศึกษาหรือวิชาชีพร่วมกันก็ได้ เช่น ทหาร ตำรวจ นักการเมือง กลุ่มคนมีเงิน ที่เรียกว่า ธนาธิปไตย (Plutocracy) โดยเอื้อผลประโยชน์แก่กลุ่มของตน

5. ประชาธิปไตยแบบมวลชน (ทางตรง) (Democracy)
หรือที่เรียกกันว่า มวลชนาธิปไตย แบบนครรัฐกรีก มีข้อเสียอยู่ 5 ประการ คือ

1) คนส่วนใหญ่ไม่ได้มีความรู้และคุณธรรม แม้จะมีความเห็น ก็เป็นความเห็นที่ไม่มีความรู้
2) คนส่วนใหญ่มีฐานะทางเศรษฐกิจต่ำ ทำให้เกิดการปกครองที่ไม่ดี
3) คนส่วนใหญ่มีแนวโน้มใช้ความรู้สึกและอารมณ์ในการตัดสินใจ
4) คนส่วนใหญ่จะทำให้เกิดความยุ่งเหยิง โกลาหล วุ่นวาย
5) ประชาธิปไตยมีสมมติฐานที่ผิดพลาด ในเรื่องความเท่าเทียมกันในทุกเรื่อง

6. ประชาธิปไตยแบบผสม (Polity)
มีผู้ปกครองกลุ่มเล็กที่มีคุณสมบัติเหมาะสม แต่มีที่มาจากคนกลุ่มใหญ่ที่เป็นชนชั้นกลางซึ่งมีจำนวนมากกว่าครึ่งหนึ่ง ที่มีการศึกษา มีฐานะทางเศรษฐกิจปานกลาง ระบบ Polity สอดคล้องกับการปกครองประชาธิปไตยในปัจจุบัน คนที่รวยมาก มักจะฟุ้งเฟ้อ เห่อเหิมไม่เห็นหัวคนอื่น ส่วนคนจนก็ไม่มีเหตุผล
ปรัชญาการเมืองแบบเสรีนิยม (Liberalism)
- สังคมใ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ปรัชญาการเมืองของกรีกปรัชญาการเมือง คือ การศึกษา หรือความรู้เกี่ยวกับการเมืองการปกครอง เพื่อนำไปสู่รูปแบบการเมืองการปกครองที่ดีที่สุด และนำไปสู่ความสุขของประชาชน โดยส่วนมากจะเน้นพวกตะวันตกมากกว่า ในที่นี้จะขอกล่าวถึง นักปราชญ์กรีกทั้ง 3 คือ Socrates, Plato, Aristotle ผู้ซึ่งวางรากฐานปรัชญาการเมืองไว้ Socrates (469 – 399 B.C) เป็นชาวนครรัฐเอเธนส์ (Athens) - แสวงหาความรู้ที่ถูกต้องที่เป็นความรู้สากล - ใช้วิธี Dialectic ตั้งคำถามให้ผู้อื่นตอบ เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งตอบ ก็ตั้งคำถามโต้แย้ง จนอีกฝ่ายหนึ่งจนแต้ม โดยจะต้องใช้เหตุผล และหลักทางตรรกวิทยา - แสวงหาความจริง ความรู้ ความยุติธรรม - ไม่เชื่อในความเท่าเทียมกันของคน - ผู้ปกครองที่ดีควรต้องมีความรู้ และสติปัญญา - ไม่เห็นด้วยกับการปกครองแบบประชาธิปไตยของกรีก เนื่องจาก1. การใช้เสียงข้างมากเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เพราะคนส่วนใหญ่ไม่มีเวลา และไม่มีความฉลาด2. ผู้นำทางการเมืองจะมาจากการเลือกตั้ง สนับสนุนของคนส่วนใหญ่ ทำให้ได้ผู้ปกครองที่ไม่มีความรู้ แต่เป็นผู้ปกครองที่ได้รับความนิยม- การยึคปรัชญาที่อาศัย “คุณธรรม คือ ความรู้” (Virtue is Knowledge) เป็นฐานกัดกร่อนข้ออ้างของระบอบประชาธิปไตยในเรื่องการมีวิธีการปกครองที่มีประสิทธิภาพ และความยุติธรรม ทำให้เสรีภาพในการอภิปรายหมดคุณค่า - วิจารณ์เสรีภาพของชาวเอเธนส์ด้วยความขมขื่น - สิ่งที่นักการเมืองผลิต คือ ขยะ - วิธี Dialectic ทำให้คนส่วนหนึ่งเกิดความรำคาญ เพราะ Socrates โต้แย้งและสอนให้คนสงสัยในทุกสิ่ง - การสอนไม่ให้เชื่อ ไม่ยอมรับเทพเจ้าที่คนในนครรัฐเชื่อถือกัน• ข้อกล่าวหาว่า Socrates สร้างเทพเจ้าองค์ใหม่• ข้อหาบ่อนทำลายและมอมเมาเยาวชน ถูกคณะลูกขุนตัดสินให้ดื่มยาพิษ Hemlock สิ้นชีวิต- ไม่มีใครรู้เกี่ยวกับชีวิตส่วนตัวของ Socrates ส่วนมากจะรู้มาจากคำบอกเล่าของ Plato และการตีความของนักคิดในยุคต่อๆ มา - ถึงแม้ว่า Socrates จะไม่เห็นด้วยกับระบอบประชาธิปไตยแบบกรีก แต่เขาก็เคารพในกฎหมายของรัฐ Plato (427 – 347 B.C) เป็นลูกศิษย์ของ Socrates - ความรู้ที่แท้จริง คือ คุณธรรมและเหตุผล - ไม่เชื่อในเรื่องของความเท่าเทียมกัน เพราะคนเรามีความสามารถและความถนัดแตกต่างกัน - เขียนหนังสือเล่มหนึ่ง ชื่อ The Republic (อุตมรัฐ) เสนอรูปแบบการปกครองของรัฐที่ดีเลิศในอุดมคติ แบ่งคนออกเป็น 3 ชนชั้น ตามความสามารถ โดยใช้การศึกษาเป็นตัวจำแนก ได้แก่1. ชนชั้นต่ำ – ชาวนา ช่าง พ่อค้า2. ชนชั้นกลาง – นักรบ ทหาร ป้องกันนครรัฐจากศัตรู3. ชนชั้นสูง – เป็นผู้ปกครอง มีเหตุผลและสติปัญญาสูงสุด ผู้ปกครอง ก็คือ ราชาปราชญ์ (Philosopher King) ฉลาดเลิศล้ำโดยกำเนิด ได้รับการฝึกอบรมให้เป็นผู้ปกครอง- ความยุติธรรมเป็นคุณธรรมสูงสุด รัฐที่ดีที่สุด คือ รัฐที่ให้ความยุติธรรมแก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน - เขียนหนังสือการเมืองอีกหลายเล่ม ในรูปแบบการสนทนาตอบโต้ - เป็นบิดาวิชาปรัชญาทางการเมือง - ไม่เห็นด้วยกับประชาธิปไตยแบบกรีก โดยเฉพาะประชาธิปไตยแบบเสียงข้างมากที่ได้ตัดสินประหารชีวิต Socrates Aristotle (384 – 322 B.C) เป็นลูกศิษย์ของ Plato - เรียนที่ Academy 19 ปี กับ Plato - เป็นอาจารย์ผู้สอนที่ Academy - ไปสอนหนังสือ Alexander the Great แห่ง Mecedonia ได้เอารัฐธรรมนูญกว่า 158 ฉบับจากเมืองที่ตีได้ให้ Aristotle ศึกษา - ต่อมาได้กลับมายังกรุงเอเธนส์ได้ตั้งโรงเรียน Lyceum ขึ้นใกล้กรุงเอเธนส์ - การศึกษาเปรียบเทียบของ Aristotle ได้จำแนกรูปแบบการปกครอง ออกเป็น 6 รูปแบบ โดยใช้เกณฑ์ จำนวนผู้ปกครอง กับ ความมีจริยธรรมของผู้ปกครอง1. ราชาธิปไตย (Monarchy)โดย กษัตริย์ (king/monarch) มีลักษณะสำคัญ คือ เป็นระบอบการปกครองที่มีการสืบสายโลหิต สืบสันตติวงศ์ โดยผู้ปกครองตระกูลหนึ่ง ซึ่งอาจเป็นการนับสายโลหิตทางพ่อ หรือทางแม่ก็ได้ แล้วแต่ประเพณีระบอบการเมืองนั้นๆ การสืบสายโลหิตที่ว่านี้ จะมีการจัดตามลำดับของเจ้านายในวงศ์ตระกูลนั้น Plato และ Aristotle ต่างมองว่าราชาธิปไตยในที่นี้ควรจะปกครองโดยราชาปราชญ์ (Philosopher King) ซึ่งเป็นการปกครองที่ดีในอุดมคติ คุณธรรมของผู้ปกครองนี้จะทำให้เป็นการปกครองที่ดีไม่คำนึงถึงประโยชน์เฉพาะของผู้ปกครองเองเป็นที่ตั้ง แต่จะคำนึงถึงประโยชน์ของนครรัฐและคนทุกกลุ่มเป็นที่ตั้ง ระบอบนี้มีความอุดมคติสูง และเป็นไปได้ยาก เพราะ 1) จะหาคนที่ดีเลิศทั้งความรู้ และคุณธรรมได้จากไหน 2) ถ้ามีคนผู้นี้อยู่จริงก็คงไม่ยอมลดตัวมาเป็นผู้ปกครอง เพราะเต็มไปด้วยภาระและปัญหา ในความเป็นจริงมีแนวโน้มว่าจะได้ผู้นำที่ด้อยความสามารถ และอาจกลายเป็นทรราช 2. ทรราชย์ (Tyranny)คือ การปกครองโดยคนคนเดียวที่มีอำนาจ ไม่มีการสืบสายโลหิต ใช้อำนาจเป็นไปตามอำเภอใจ (Arbitrary) ไม่มีกฎเกณฑ์ ไม่มีความแน่นอน สั่งการแต่ผู้เดียว มักเป็นการปกครองโดยใช้กำลังบังคับ 3. อภิชนาธิปไตย (Aristocracy)คำว่า Aristocracy มาจากคำว่า aristoi เป็นภาษากรีก แปลว่า ความฉลาด ความสามารถพิเศษ + kratos แปลว่า การปกครอง รวมกันคือ การปกครองโดยคณะ / กลุ่มคนส่วนน้อยที่มีความสามารถ มีความรู้ มีการศึกษา และเป็นชนชั้นสูง ที่มุ่งประโยชน์ส่วนรวม จุดอ่อนก็คือ มีแนวโน้มที่จะกลายเป็น คณาธิปไตย 4. คณาธิปไตย (Oligarchy)เป็นการปกครองโดยกลุ่มบุคคล แต่เป็นกลุ่มซึ่งรวมตัวกันเพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมืองโดยเฉพาะ อาจจะมาจากหลายชนชั้น หรือมีการศึกษาหรือวิชาชีพร่วมกันก็ได้ เช่น ทหาร ตำรวจ นักการเมือง กลุ่มคนมีเงิน ที่เรียกว่า ธนาธิปไตย (Plutocracy) โดยเอื้อผลประโยชน์แก่กลุ่มของตน 5. ประชาธิปไตยแบบมวลชน (ทางตรง) (Democracy)หรือที่เรียกกันว่า มวลชนาธิปไตย แบบนครรัฐกรีก มีข้อเสียอยู่ 5 ประการ คือ 1) คนส่วนใหญ่ไม่ได้มีความรู้และคุณธรรม แม้จะมีความเห็น ก็เป็นความเห็นที่ไม่มีความรู้ 2) คนส่วนใหญ่มีฐานะทางเศรษฐกิจต่ำ ทำให้เกิดการปกครองที่ไม่ดี 3) คนส่วนใหญ่มีแนวโน้มใช้ความรู้สึกและอารมณ์ในการตัดสินใจ 4) คนส่วนใหญ่จะทำให้เกิดความยุ่งเหยิง โกลาหล วุ่นวาย 5) ประชาธิปไตยมีสมมติฐานที่ผิดพลาด ในเรื่องความเท่าเทียมกันในทุกเรื่อง 6. ประชาธิปไตยแบบผสม (Polity)มีผู้ปกครองกลุ่มเล็กที่มีคุณสมบัติเหมาะสม แต่มีที่มาจากคนกลุ่มใหญ่ที่เป็นชนชั้นกลางซึ่งมีจำนวนมากกว่าครึ่งหนึ่ง ที่มีการศึกษา มีฐานะทางเศรษฐกิจปานกลาง ระบบ Polity สอดคล้องกับการปกครองประชาธิปไตยในปัจจุบัน คนที่รวยมาก มักจะฟุ้งเฟ้อ เห่อเหิมไม่เห็นหัวคนอื่น ส่วนคนจนก็ไม่มีเหตุผลปรัชญาการเมืองแบบเสรีนิยม (Liberalism)- สังคมใ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
希腊政治哲学
政治哲学或政治知识的研究政治导致的最佳模式而导致人民的幸福。西方更强调大部分。本文将讨论是的,3苏格拉底柏拉图的政治哲学,亚里士多德,苏格拉底奠定了基础。399(

)(公元前469)นครรัฐเอเธนส์雅典人寻求知识

-
这是普遍的使用方法Dialectic质疑别人回答的时候,另一方回答质疑争论停止。另一原因是主要的逻辑和知识寻求真理正义
-
不平等的好父母应该有
-
-见、智慧与希腊的民主由于
1。多数使用是错误的,因为大多数人没有时间也没有2聪明
。政治领导人选举的多数人的支持,家长都不知道了但受父母
C -依赖การยึ哲学“美德即知识”,知识的基础是()Virtue腐蚀民主的借口是如何有效执政讨论的自由和正义的价值,导致了

。批评自由的雅典政治家所产生的痛苦是
-
- Dialectic垃圾一让人烦恼因为苏格拉底说,教人怀疑一切。

不要相信教学没有人信任神。城邦建立指控苏格拉底
-
*上帝ข้อหาบ่อนทำลาย新青年和陶醉。被陪审团宣判死
Hemlock喝毒药。苏格拉底没有私生活的传闻是从柏拉图时代的思想家和解释之后
-虽然希腊苏格拉底反对民主。但他也尊重国家法律,

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: